วันพุธที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2557

                         ซอฟต์แวร์ระบบ

               

         ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการจัดการระบบคอมพิวเตอร์ จัดการอุปกรณ์รับเข้าและส่งออก การรับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระ การแสดงผลบนจอภาพ การนำข้อมูลออกไปพิมพ์ยังเครื่องพิมพ์ การจัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้ม การเรียกค้นข้อมูล การสื่อสารข้อมูล ซอฟต์แวร์ระบบจึงหมายถึงซอฟต์แวร์ที่ดูแลจัดการอุปกรณ์ต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบ ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือ ระบบปฏิบัติการ (operating system) เช่น เอ็มเอสดอส ยูนิกซ์ โอเอสทู วินโดวส์ ลีนุกซ์ เป็นต้น
       คอมพิวเตอร์จะทำงานไม่ได้หากปราศจากระบบปฏิบัติการ ซึ่งทำหน้าที่ประสานงานระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ เราสามารถสั่งงานผ่านระบบปฏิบัติการให้คอมพิวเตอร์คำนวณ ให้แสดงภาพ ให้พิมพ์ข้อความหรือผลลัพธ์ออกมาทางเครื่องพิมพ์ นอกจากนั้นคอมพิวเตอร์ยังทำหน้าที่ประสานงานระหว่างโปรแกรมต่างๆ กับตัวเครื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ไม่ว่าประเภทใดล้วนแต่ต้องทำงานบนซอฟต์แวร์ระบบทั้งสิ้น

ตัวอย่างซอฟแวร์ระบบ

                                  1.  windows


                                     2.  Linux




                                     3. IOS




                                4. Android



                               5. Windows Xp




                               6.Windows Vista




                                                   ซอฟแวร์ประยุกต์


ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)  คือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น เพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้า
คงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เป็นต้น  การทำงานใดๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จำเป็นต้องทำงานภายใต้สภาพแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย ตัวอย่างเช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำต้องทำงานภายใต้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอสหรือวินโดวส์ เป็นต้น
       ซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้รับความนิยมใช้งานอย่างแพร่หลายในทุกวงการ ความนิยมส่วนหนึ่งมาจาก ขีดความสามารถของซอฟต์แวร์ประยุกต์นั้นๆ เพราะซอฟต์แวร์ที่ผลิตออกจำหน่าย ต่างพยายามแข่งขันกันหลายๆ ด้าน เช่น เรียนรู้และใช้งานได้ง่าย สนับสนุนให้ใช้กับเครื่องพิมพ์ได้ดี มีคู่มือการใช้ซอฟต์แวร์ที่อ่านเข้าใจง่าย ให้วิธีหรือขั้นตอนที่อธิบายไว้อย่างชัดเจน และมีระบบโอนย้ายข้อมูลเข้าออกกับซอฟต์แวร์อื่นได้ง่าย


ตัวอย่างซอฟแวร์ประยุกต์


                               1.Google Chrome

                                2.Microsoft  access


                                         3. Power Point 2010



                                         4.Microsoft  Word


                                   5. mozilla firefox




                                          6.Adobe




วันพุธที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ประวัติของข้าพเจ้า

ประวัติของข้าพเจ้า








1. ชื่อ  ฐิติพงศ์   ชัยประวัติ

2. ชื่อเล่น  เบนซ์

3. เกิดวันที่  11  กันยายน  พ.ศ . 2541

4. ที่อยู่  บ้านเลขที่ 46 หมุ่ 1  ตำบล บ้านชะอวด  อำเภอ จุฬาภรณ์   จังหวัด  นครศรีธรรมราช

5. สิ่งที่ชอบ  กีฬา

6. สิ่งที่ไม่ชอบ   ไม่มี

7. อาหารที่ชอบ  ข้าวผัดกระเพรา  


หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์์
หน่วยรับข้อมูล  
1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) 

หน่วยรับข้อมูล คือหน่วยรับข้อมูล คือ 
ครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลรับข้อมูลหรือคำสั่ง จากผู้ใช้เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ คือเช่น ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ เป็นต้น โดยจะแปลงข้อมูลหรือคำสั่งนั้นให้อยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้าที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำมาจัดเก็บที่หน่วยความจำหลัก และใช้ประมวลผลได้ อุปกรณ์หน่วยรับข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน มีดังนี้ 

     แป้นพิมพ์ (keyboard) 
     เมาส์ (Mouse) 

      แผ่นรองสัมผัส (touch pad)
        จอยสติ๊ก (joustick)

      จอสัมผัส (touch screen) 



      กล้องถ่ายภาพดิจิตอล (digital camera)

       กล้องถ่ายวีดิโอดิจิตอล (digital video camera)

       อุปกรณ์รับเสียง 




หน่วยประมวลผลกลาง
       หน่วยประมวลผลกลาง เรียกอีกอย่างว่า CPU คือ ส่วนที่ทำหน้าที่ปฏิบัติตามคำสั่งที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูล และควบคุมการปฏิบัติงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์หลักในการประมวลผลกลาง เช่น การคำนวณ เปรียบเทียบ การเรียงลำดับ การจัดกลุ่ม การจัดทำรายงาน เป็นต้น หน่วยประมวลผลกลางจึงเปรียบเสมือนสมองของคอมพิวเตอร์ที่สามารถคิดวิเคราะห์เพื่อหาผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ต้องการได้ ซีพียูของเครื่องคอมพิวเตอร์ในระดับซีพียูจะถูกบรรจุในชิปที่เรียกว่า ไมโครโปรเซสเซอร์ 

หน่วยควบคุม (Control Unit) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบทั้งหมด ให้ทำงานอย่างถูกต้อง


หน่วยคำนวณ (Arithmetic Logic Unit) ทำ หน้าที่ประมวลผลข้อมูลทางคณิตศาสตร์และทางตรรกะ เช่น - การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร


หน่วยแสดงผล
     หน่วยแสดงผล คือ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ผ่านการประมวลผล โดยจะแปลงผลลัพธ์จากสัญญาณไฟฟ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้กลายเป็นรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจ เช่น ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์พิเศษ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว และเสียง เป็นต้น อุปกรณ์หน่วยแสดงผลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน มีดังนี้ 

      จอภาพ



       เครื่องพิมพ์



     ลำโพง




หน่วยความจำ

   หน่วยความจำหลัก
   รอม (ROM : Read Only Memory) เป็นหน่วยความจำหลักที่ 

- ใช้บรรจุโปรแกรมสำคัญ ที่ใช้ในการสตาร์ทอัพเครื่อง 

- เก็บโปรแกรมคำสั่งไว้อย่างถาวร 

- ไม่ต้องใช้กระแสไฟฟ้าเลี้ยง ข้อมูลก็จะยังคงอยู่ 

- เขียนหรือบันทึกข้อมูลคำสั่งได้เพียงครั้งเดียว ในขั้นตอนการผลิตเครื่องจากโรงงาน 

ไม่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้อีก 


  แรม




หน่วยความจำรอง

   ฮาร์ดดิสก์


    ซีดีอาร์




แฮนดี้ไดร์ฟ



    1.หลักการทำานของคอมพิวเตอร์มี่กี่อย่าง อะไรบ้าง
       ตอบ 4 อย่าง  1.  หน่วยรับข้อมูล
                              2.  หน่วยประมวลผล
                              3.  หน่วยจัดเก็บข้อมูล
                               4. หน่วยแสดงผลข้อมูล


    2. หน่วยรับข้อมูล คืออะไร
     ตอบ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลรับข้อมูลหรือคำสั่ง จากผู้ใช้เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์

    3. หน่ยวรับข้อมูลได่แก่อะไรบ้าง
      ตอบ  1. แป้นพิมพ์
                2. เมาส์
                3. แผ่นรองสัมผัส
                4. จอยสติ๊ก
                5. หน้าจอสัมผัส
    
    4. หน่วยแสดงผล คืออะไร
       ตอบ   เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ผ่านการประมวลผล โดยจะแปลงผลลัพธ์จากสัญญาณไฟฟ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้กลายเป็นรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจ

    5. หน่วยความจำมีอะไรบ้าง
             ตอบ 1. แรม
                      2. ซีดีอาร์
                      3. แฮนดี้ไดร์ฟ








ข้อสอบ O-NET คอมพิวเตอร์

 1.ข้อใดไม่ใช่ ขั้นตอนหลักในการทำงานของคอมพิวเตอร์
 ก. ประมวลผล            ข. เก็บข้อมูล 
 ค. รับข้อมูล                ง. นำข้อมูลเข้า


2. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับยวกับหน่วยความจําของคอมพิวเตอร์
 1. หน่วยความจําหลักประกอบด้วย แรม รอม และซีพียู
 2. หน่วยความจํารอม เป็นชุดคําสั่งที่ติดตั้งแบบไม่ถาวร
 3. ผู้ใช้งานสามารถเพิ่มเติมชุดคําสั่งในหน่วยความจํารอมได้                                                       4. ข้อมูลต่างๆ ที่อยู่ในแรมจะหายไปหากไม่มีไฟฟ้าหล่อเลี้ยงระบบ       


3. ข้อใดคืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่จัดเป็นหน่วยรับเข้าและส่งออก
 1. เมาส์ (Mouse) 
 2. ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) 
 3. แผ่นรองสัมผัส (Touch Pad) 
 4. จอภาพสัมผัส (Touch Screen) 





4. ข้อใดคือความหมายของ ฮาร์ดแวร์ 

ก. โปรแกรมที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน
ข. ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์
ค. ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน
ง. บุคลากรที่ทำงานกับคอมพิวเตอร์


5.เมาส์เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่มีหน้าที่อย่างไร

ก. ควบคุมการชี้ตำแหน่งบนจอภาพ 
ข. รับข้อมูลเสียงเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์
ค. ควบคุมการเคลื่อนที่ของเคอร์เซอร์บนจอภาพ 
ง. ข้อ ก และ ค ถูก